ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปี 2566
|
ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ.2565
|
การวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและฝนรายปีและรายเดือนของประเทศไทยเป็นรายสถานี
|
ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย พ.ศ.2564
|
ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2563
|
ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย 2562
ปี 2562 อิทธิพลของปรากฏการณ์เอลนีโญและ IOD ที่มีสถานะเป็นบวกส่งผลต่ออุณหภูมิเฉลี่ยของโลกทำให้อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกในปีนี้มีค่าสูงสุดเป็นอันดับที่ 2 ในรอบ 140 ปี (พ.ศ.2423-2562) รองจากปี 2559 ที่เป็นปีที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงที่สุดของโลก |
ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย (2561)
ปี พ.ศ. 2561 เป็นปีที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกมีค่าสูงสุดเป็นอันดับที่ 4 ในรอบ 139 ปี (พ.ศ. 2423-2561) และในช่วง 4 ปีที่ผ่านมาระหว่างปีพ.ศ. 2558 ถึง 2561 เป็นช่วงที่อุณหภูมิโลกสูงสุดติด 4 อันดับแรกในประวัติศาสตร์ |
ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย (2560)
ปี 2560 มีอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกต่ํากว่าปี 2559 ซึ่งเป็นปีเอลนิโญรุนแรง แต่นับเป็นปีที่ร้อนที่สุดที่ไม่ได้รับอิทธิพลจาก ปรากฏการณ์เอลนิโญ โดยอุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2556-2560) มีค่าสูงกว่าค่าเฉลี่ยในช่วงก่อนปฏิวัติ อุตสาหกรรม (พ.ศ.2423-2443) ประมาณ 1 องศาเซลเซียสและเป็นค่าเฉลี่ยในรอบ 5 ปีสูงที่สุดเท่าที่เคยบันทึกไว้ |
ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย (2559)
องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกได้เผยแพร่และยืนยันผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากหลายศูนย์ติดตามข้อมูลสภาพอากาศและภูมิอากาศระดับโลก ว่าปี 2559 เป็นปีที่ร้อนที่สุดของโลก |
ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย (2558)
ปี 2558 นับเป็นปีที่ร้อนที่สุดของโลกอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงที่สุดเท่าที่มีการบันทึกมาตั้งแต่ ปี พ.ศ.2393 โดยสูงกว่าค่าเฉลี่ยในช่วงปี พ.ศ.2504-2533 (14 องศาเซลเซียส) 0.73 องศาเซลเซียส และสูงกว่าอุณหภูมิเฉลี่ยในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรม (พ.ศ.2423-2442) เกือบ 1 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ยังพบว่าอุณหภูมิผิวโลกเฉลี่ยช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2554-2558) เป็นช่วงที่ร้อนที่สุดด้วยเช่นเดียวกัน |
ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย (2557)
หลายสถาบันได้สรุปว่าปี ค.ศ. 2014 หรือ พ.ศ. 2557 เป็นปีที่ร้อนที่สุดของโลก นับตั้งแต่มีการบันทึกข้อมูลมาเมื่อปี ค.ศ. 1850 หรือ พ.ศ. 2393 โดยอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปีสูงกว่าค่าปกติ 0.69 องศาเซลเซียส มากกว่าสถิติเดิมที่เคยบันทึกไว้ 0.04 องศาเซลเซียส |